วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

รายงานคะเเนนเก็บทั้งหมด 1539 คะแนน

ข้าพเจ้าทำได้ 1427 คะเเนน
มีลายเซ็น 1 ครั้ง







ความดี

1. ร้องเพลงประสานเสียง

2.ไปแข่งขันประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์

วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรมที่ 20-24 ธันวาคม 2553

กิจกรรม 10 - 14 มกราคม 2554





ตอบข้อ 1เพราะ วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงโดยผ่านตำแหน่งต่างๆและในช่วงเวลาต่างๆ



ตอบข้อ 4เพราะ จากจุดอ้างอิงไปทางขวา40 เมตร เวลาผ่านไป10วินาที1.2เมตร/วินาที






ตอบข้อ3เพราะ การกระจัด หรือการขจัด ในทางฟิสิกส์ หมายถึงระยะห่างของการเคลื่อนที่จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสุดท้ายโดยจะมีลักษณะเป็นเส้นตรง ซึ่งจะเป็นระยะทางที่สั้นที่สุดระหว่างจุดสองจุดใด ๆ ในขณะที่เราเคลื่อนที่ เราจะเปลี่ยนตำแหน่งที่อยู่ตลอดแนว เช่น ขณะเราขับรถยนต์ไปตามท้องถนน เราจะเคลื่อนที่ผ่านถนน ถนนอาจเป็นทางตรง ทางโค้ง หรือหักเป็นมุมฉาก ระยะทางที่รถเคลื่อนที่อาจเป็นระยะทางตามตัวเลขที่ราบของการเคลื่อนที่ แต่หากบางครั้งเราจะพบว่า จุดปลายทางที่เราเดินทางห่างจากจุดต้นทางในแนวเส้นตรง หรือในแนวสายตาไม่มากนัก
ระยะทาง (distance) คือ ความยาวตามเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมด เป็นปริมาณสเกลาร์ คือ มีแต่ขนาดอย่างเดียว มีหน่วยเป็นเมตร โดยทั่วไปเราใช้สัญลักษณ์ S
การกระจัด (displacement) คือ เส้นตรงที่เชื่อมโยงระหว่างจุดเริ่มต้น และจุดสุดท้ายของการเคลื่อนที่เป็นปริมาณเวกเตอร์ คือ ต้องคำนึงถึงทิศทางด้วย มีหน่วยเป็นเมตร โดยทั่วไปเขียนแบบเว็กเตอร์เป็น S



ตอบข้อ 2เพราะ กรณีที่วัตถุเคลื่อนที่อัตราเร็วที่ไม่สม่ำเสมอ หรือความเร็วไม่สม่ำเสมอ วัตถุมีค่าความเร่ง    

ความหมายของอัตราเร่งหรือความเร่ง คือ อัตราเร็วหรือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลาที่วัตถุมีการเคลื่อนที่



ตอบข้อ 1เพราะ





ตอบข้อ 3เพราะ ยิงลูกปืนที่ยิงออกมาในระดับเดียวกันทำหั้ยความเร็วระดับมีขนาดมากกว่าตอนท่ี่ถูกยิงออก




เฉลย







วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรม 8 พฤศจิกายน 2553

ข้อ 60





ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=38529
สืบค้นข้อมูล

ส่วนรอยเลื่อน ที่น่าจับมอง คือรอยเลื่อนสะแกง หรือสะเกียงในประเทศพม่า เพราะรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ เป็นรอยเลื่อนแขนงของลอยเลื่อนสะแกง เพราะมีเขื่อนศรีนครินทร์ตั้งอยู่ โดยในปี 2526 เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 ริกเตอร์ เหนือเขื่อนศรีนครินทร์ประมาณ 60 กม.แต่ไม่ได้ส่งผลเสีย และสร้างความเสียหายกับเขื่อน ดังนั้น ควรต้องมีแผนป้องกันภัย แผนเตือนภัย แผนอพยพ และแผนจัดการ เมื่อเกิดภัยพิบัติ นอกจากนี้ ยังรวมถึงรอยเลื่อนในภาคเหนือของไทยด้วย ส่วนรอยเลื่อนขนาดใหญ่นอกประเทศนอกจากรอยเลื่อนสะแกงแล้ว ยังมีรอยเลื่อนแม่น้ำแดง ในประเทศเวียดนาม อย่างไรก็ตาม ถือว่าประเทศไทยโชคดีที่บรรพบุรุษเลือกพื้นที่ที่มีความเสี่ยงเกิดแผ่นดิน ไหวค่อนข้างต่ำ


สำหรับรอย เลื่อนในประเทศไทยที่มีพลังอยู่มี 13 กลุ่ม ประกอบด้วย รอยเลื่อนแม่จันและแม่อิง ครอบคลุมจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน ครอบคลุมแม่ฮ่องสอน และตาก รอยเลื่อนเมย ครอบคลุมตากและกำแพงเพชร รอยเลื่อนแม่ทา ครอบคลุม เชียงใหม่, ลำพูน และเชียงราย รอยเลื่อนเถิน ครอบคลุมลำปาง และแพร่ รอยเลื่อนพะเยา ครอบคลุมลำปาง, เชียงรายและพะเยา รอยเลื่อนปัว ครอบคลุมน่าน รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ ครอบคลุมอุตรดิตถ์ รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ครอบคลุมกาญจนบุรีและราชบุรี รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ ครอบคลุมกาญจนบุรีและอุทัยธานี รอยเลื่อนท่าแขก ครอบคลุมหนองคายและนครพนม รอยเลื่อนระนอง ครอบคลุมประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, ระนอง, และพังงา รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย ครอบคลุมสุราษฎร์ธานี, กระบี่ และพังงา
 ตอบ ข้อ 2.พม่า



ข้อ 61





ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%9B

สืบค้นข้อมูล
ทวีป หมายถึง แผ่นดินขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันบนพื้นโลก การแบ่งทวีปในโลกไม่มีมาตรฐานที่แน่นอน โดยทั่วไปทวีปต้องเป็นพื้นกว้างใหญ่ ไม่รวมพื้นที่ที่จมอยู่ใต้น้ำ และมีเขตแดนเด่นชัดทางภูมิศาสตร์ แม้ว่าบางคนเชื่อว่าในโลกมีทวีปอยู่ 4-5 ทวีป แต่ส่วนใหญ่จะนับได้ 6-7 ทวีป



7 ทวีป : แอฟริกา แอนตาร์กติกา เอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ ออสเตรเลีย และอเมริกาใต้
6 ทวีป : แอฟริกา แอนตาร์กติกา โอเชียเนีย ยูเรเชีย อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้
ปัจจุบันผิวโลกมีแผ่นเปลือกโลกหลักอยู่ 7 แผ่น และแผ่นเล็ก ๆ อีกมาก การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกทำให้เกิดการแยกตัวออกจากกัน และการรวมเข้าด้วยกันของแต่ละแผ่น ในอดีตจึงมีแผ่นเปลือกที่ไม่พบในปัจจุบัน




ตอบ  ข้อ 1.


            ข้อ62


ที่มา :   http://region3.prd.go.th/natural-disaster/journal4.php        

สืบค้นข้อมูล
แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติที่เกิดจากเคลื่อนตัวโดยฉับพลันของ เปลือกโลกบริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลกที่แนวแผ่นดินไหว เพราะหินในชั้นหลอมละลายที่อยู่ใต้เปลือกโลกได้รับความร้อนจากแกนโลก และลอยตัวผลักดันให้เปลือกโลกแต่ละชิ้นมีการเคลื่อนที่ไปในทิศทางต่าง ๆ ที่มีการสะสมพลังงานไว้ เมื่อพลังงานมีมากจึงชนและเสียดสีกันหรือแยกออกจากกัน โดยการสะสมของพลังงานที่เปลือกโลกจะถูกส่งผ่านไปยังเปลือกพื้นโลกของทวีป รอยร้าวของหินใต้พื้นโลกเรียกว่า “รอยเลื่อน” และหากรอยเลื่อนที่มีอยู่ได้รับแรงอัดมาก ๆ ก็จะทำให้เกิดแผ่นดินไหวได้เช่นเดียวกัน โดยรอยเลื่อนที่จะส่งผลให้เกิดผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย ได้แก่ แนวในมหาสมุทรอินเดีย สุมาตรา พม่า และรอยเลื่อนในประเทศพม่า จีนตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รอยเลื่อนภายในประเทศส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคเหนือและภาคตะวันตก โดยรอยเลื่อนที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 9 แห่ง เช่น รอยเลื่อนแพร่ รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนระนอง 1.รอยเลื่อนเชียงแสน วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบนสุดของประเทศ มีความยาวประมาณ 130 กิโลเมตร โดยเริ่มต้นจากแนวร่องน้ำแม่จันไปทางทิศตะวันออก ผ่านอำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย แล้วข้ามด้านใต้ของอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวลำน้ำเงิน ทางด้านเหนือของอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2521 มีแผ่นดินไหวขนาดใหญ่กว่า 3 ริคเตอร์ เกิดตามแนว รอยเลื่อนนี้ 10 ครั้ง และ 3 ครั้งมีขนาดใหญ่กว่า 4.5 ริคเตอร์และเป็นแผ่นดินไหวที่เกิดในระดับตื้นกว่า 10 กิโลเมตร 2. รอยเลื่อนแพร่ อยู่ทางด้านตะวันออกของแอ่งแพร่ และวางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเริ่มต้นจากด้านตะวันตกเฉียงใต้ของอำเภอ เด่นชัย ผ่านไปทางด้านตะวันออกของอำเภอสูงเม่น และจังหวัดแพร่ ไปจนถึงด้านตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอร้องกวาง รวมความยาวทั้งสิ้นประมาณ 115 กิโลเมตร มีแผ่นดินไหวขนาด 3-4 ริคเตอร์ เกิดตามแนวรอยเลื่อนนี้กว่า 20 ครั้ง ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา ส่วนแผ่น ดินไหวขนาด 3 ริคเตอร์ ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2533 ที่ผ่านมา เกิดตามแนวรอยเลื่อน ซึ่งแยกจากรอยเลื่อนแพร่ไปทางทิศเหนือ 3. รอยเลื่อนแม่ทา มีแนวเป็นรูปโค้งตามแนวลำน้ำแม่วอง และแนวลำน้ำแม่ทาในเขตจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 55 กิโลเมตร 4. รอยเลื่อนเถิน อยู่ทางทิศตะตกของรอยเลื่อนแพร่ โดยตั้งต้นจากด้านตะวันตกของอำเภอเถิน จังหวัดลำปางไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ขนานกับรอยเลื่อนแพร่ไปทางด้านเหนือ ของอำเภอเถินไปทางตะวันออกเฉียงเหนือขนานกับรอยเลื่อนแพร่ ไปทางด้านเหนือของอำเภอวังชิ้น และอำเภอลอง จังหวัดแพร่ รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 90 กิโลเมตร เคยมีรายงานการเกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 ริคเตอร์ บนรอยเลื่อนนี้ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2521 5. รอยเลื่อนเมย-อุทัยธานี วางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งต้นจากลำน้ำเมย ชายแดนไทยพม่า ด้านจังหวัดตาก บริเวณห้วยแม่ท้อ และลำน้ำปิงใต้ ผ่านจังหวัดกำแพงเพชร และนครสวรรค์ จนถึงเขตจังหวัดอุทัยธานี รวม 250 กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวเกิดตามรอยเลื่อนนี้ 2 ครั้ง คือ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2476 ที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก และเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2518 ที่ อำเภอ ท่าสองยาง จังหวัดตาก แผ่นดินไหวครั้งหลังนี้มีขนาด 5.6 ริคเตอร์ 6. รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ อยู่ทางด้านตะวันตกของรอยเลื่อนเมย-อุทัยธานี โดยมีทิศทางเกือบขนานกับแนวของรอยเลื่อน อยู่ในร่องน้ำแม่กลองและแควใหญ่ ตลอดขึ้นไปจนถึงเขตแดนพม่า รวมความยาวกว่า 500 กิโลเมตร บริเวณนี้มีรายงานแผ่นดินไหวขนาดเล็กหลายร้อยครั้ง ตามแนวรอยเลื่อนนี้ เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด ขนาด 5.9 ริคเตอร์ เมื่อปี 2526 7. รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ อยู่ในลำน้ำแควน้อยตลอดสาย และต่อไปจนถึงรอยเลื่อนสะแกง (Sakaing Fault) ในประเทศพม่า ความยาวของรอยเลื่อนช่วงที่อยู่ในประเทศไทยยาวกว่า 250 กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวจากรอยเลื่อนนี้หลายพันครั้ง 8. รอยเลื่อนระนองวางตัวตามแนวร่องน้ำของแม่น้ำกระบุรี มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 270 กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2521 มีขนาด 5.6 ริคเตอร์ 9. รอยเลื่อนคลองมะรุยตัดผ่านด้านตะวันออกของเกาะภูเก็ต เข้าไปในอ่าวพังงา และตามแนวคลองมะรุย คลองชะอุน และคลองพุมดวงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จนถึงอ่าวบ้านดอน ระหว่างอำเภอพุนพินกับอำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี รวม 150 กิโลเมตร บริเวณนี้เคยเกิดแผ่นดินไหวในปี 2476 ที่จังหวัดพังงา และทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ นอกฝั่งภูเก็ต เมื่อปี 2519 และ 2542 แผ่นดินไหวถือเป็นภัยพิบัติที่มนุษย์เราไม่สามารถพยากรณ์ได้อย่างถูกต้อง แต่สิ่งที่จำเป็นในการเผชิญหน้ากับแผ่นดินไหว คือการเตรียมความพร้อมรับการเกิดแผ่นดินไหว การให้ความรู้แก่ประชาชน พร้อมกับการออกกฎหมายควบคุมสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ให้สามารถรองรับแรงแผ่นดินไหวตามสภาพพื้นที่ และต้องมีการวางแผนการจัดการที่ดีหากเกิดความเสียหายร้ายแรงหลังจากเกิดเหตุ แผ่นดินไหว เพื่อลดความสูญเสียที่มนุษย์เราไม่สามารถคาดการณ์ได้
      ตอบ  ข้อ 4.


      ข้อ 63


ที่มา :  http://www.oknation.net/blog/print.php?id=98009

สืบค้นข้อมูล
      ปรากฏการณ์ภูเขาไฟภายใน (Intrusive Activities) เกิดจากหินหลอมละลายภายใต้เปลือกโลกเกิดแรงกดดันมากขึ้นจึงไหลแทรกตัวขึ้นมา ยังเปลือกโลก เป็นแหล่งกำเนิดของหินอัคนีระดับลึกดังที่ได้ศึกษามาแล้ว ลักษณะภูมิประเทศของปรากฏการณ์ภูเขาไฟประเภทนี้เมื่อเกิดขึ้นจะไม่สามารถ เห็นปรากฏแก่สายตาเป็นที่เด่นชัดเนื่องจากเกิดภายใต้เปลือกโลก เมื่อระยะเวลาผ่านไปเกิดการกัดเซาะผุกร่อนของสภาพภูมิประเทศจนเห็นลักษณะ ภูมิประเทศชนิดนี้

      ปรากฏการณ์ภูเขาไฟภายนอก (Extrusive Activities) เกิดจากหินหลอมละลายภายใต้ความกดดันมหาศาลแทรกตัวมาตามรอยร้าวของเปลือกโลก และหินหนืดเหล่านั้นมีก๊าซเข้าไปผสมมากขึ้น โดยส่วนใหญ่จะเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และไฮโดรเจน เป็นส่วนมาก ทำให้เกิดแรงผลักดันมหาศาลเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง หรือผลักดันให้หินหนืดไหลออกมาตามรอยร้าวของเปลือกโลก ปรากฏการณ์การระเบิดของภูเขาไฟจึงเกี่ยวกับสภาวะของเปลือกโลกที่ยังไม่มั่น คง ปัจจุบันคาดกันว่าทั่วโลกยังคงมีภูเขาไฟคุกรุ่นมีพลังอยู่ประมาณ 850 ลูก แต่เป็นการยากที่จะแยกแยะระดับความรุนแรง ทั้งนี้เพราะอาจทวีความรุนแรงขึ้นอีกได้เหมือนกัน ภูเขาไฟที่เพิ่งเกิดเมื่อประมาณ 1-2 ล้านปีมาแล้ว มักเกิดโอกาสปะทุได้อีก ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดแผ่นดินไหว อย่างไรก็ตามเราสามารถจำแนกประเภทของภูเขาไฟจากปรากฏการณ์ ได้เป็น 3 ประเภท คือ  

ภูเขาไฟมีพลัง (Active Volcanoes) หมายถึง ภูเขาไฟที่เคยมีประวัติถูก บันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น จัดว่าเป็นภูเขาไฟยังมีพลังอยู่ เช่น ภูเขาไฟเอตนา ในเกาะซิซิลี ของประเทศอิตาลี  
ภูเขาไฟที่สงบ (Dormant Volcanoes) หมายถึง ภูเขาไฟที่ไม่เคยถูกบันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น และไม่มีการผุพัง จัดว่าเป็นภูเขาไฟที่สงบมันอาจเกิดการระเบิดเมื่อใดก็ได้ เช่น ภูเขาไฟ วิสุเวียส ในประเทศอิตาลี ภูเขาไฟที่ดับแล้ว (Extinct Volcanoes) หมาย ถึง ภูเขาไฟที่ไม่เคยถูกบันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น เช่น ไม่มีไอน้ำร้อนขึ้นมา หรือไม่มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นในท้องถิ่นนั้น ๆ ภูเขาไฟประเภทนี้จัดเป็นประเภทภูเขาไฟที่ดับแล้ว เช่น ภูเขาไฟหลวง จังหวัดสุโขทัย
         ตอบ ข้อ 2. 1,000 ลูก 


      ข้อ 64

ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/oraphin_s/darasat/section1_p04.html

สืบค้นข้อมูล
       ดาวฤกษ์  เป็นมวลก๊าซที่ลุกโชติช่วง ( incandescent  gas )   และกระจายอยู่ทั่วทั้งเอกภพในระยะที่ห่างกันพอได้สมดุลพอดี   เราอาจจุเห็นดาวฤกษ์หลายดวงอยู่กันเป็นกลุ่มในท้องฟ้ายามราตรีในรูปของจุดแสงเล็กๆ  บางดวงก็มีแสงสุกใสสว่างกว่าดวงอื่น    แต่นั้นก็เป็นเพียงรูปโฉมภายนอกเท่านั้น  ทั้งนี้เพราะความสว่างที่เห็นนั้นขึ้นอยู่กับระยะทางที่ดาวฤกษ์ดวงนั้นๆ  อยู่ห่างจากโลก  อายุขัยของดาวฤกษ์แต่ละดวงไม่เท่ากัน  ทว่ามันก่อเกิดขึ้น  เติบโต   และดับไปในที่สุดเหมือนๆกัน  ดาวฤกษ์บางดวง  เช่น  ดวงอาทิตย์  มีดาวบริวารที่เรียกว่า  ดาวเคราะห์ ( planet )  หลายดวงซึ่งแต่ละดวงหมุนรอบตัวเองและโคจรอยู่รอบดาวฤกษ์ดวงนั้นๆ

ความสว่างกับขนาด  (BRIGHTNESS  AND  SIZE)      เมื่อเราดูดาวฤกษ์ในตอนกลางคืน  จะเห็นว่าบางดวงมีแสงสว่างกว่าดวงอื่น ๆ  แต่นั้นเป็นสิ่งที่เราเห็นภายนอกเท่านั้น   แท้ที่จริงความสว่าง (brightness)  ที่เราเห็นขึ้นอยู่กับขนาด  (size)  ที่มีมาแต่ดั้งเดิมของดาวฤกษ์ดวงนั้น ๆ  และขึ้นอยู่กับว่ามันอยู่ไกลจากเราเท่าใดด้วย  ด้วยเหตุนี้เราจึงเห็นดาวฤกษ์ดวงที่มีขนาดใหญ่มากและมีแสงสุกใสสว่างมากกลับมีความสว่างน้อยกว่าที่ควรจะเห็น  และเห็นดาวฤกษ์ดวงที่มีขนาดเล็กและมีแสงไม่สุกใสสว่างมากนักแต่อยู่ใกล้เรามากกว่ากลับมีความสว่างมาก   ทำให้ต้องมีการกำหนดขนาดที่ปรากฏ   (apparent  size – ความสว่างที่เห็น )  กับขนาดสัมบูรณ์  ( absolute size  -  ขนาดจริง )  ของดาวฤกษ์แต่ละดวงนั้น

สีของดาวฤกษ์  (THE  COLOR  OF  STARS )       ถ้าเราดูให้ดีแล้วจะเห็นว่าดาวฤกษ์แต่ละดวงนั้นมีสีไม่เหมือนกันแต่เดิมนั้นมีการจำแนกสีดาวฤกษ์ออกเป็น  4 ประเภท  คือ  แดง  ส้ม  เหลือง และขาว  แต่ละสีแทน อุณหภูมิของดาวฤกษ์  สีขาวแทนดาวฤกษ์ที่ร้อนจัดที่สุด   ส่วนสีแดงแทนดาวฤกษ์ที่ร้อนน้อยที่สุด  การให้สีอย่างนี้ก็คล้ายกับสีของชิ้นเหล็กที่กำลังถูกไฟเผา  ในตอนแรกมันจะร้อนแดงก่อน   ต่อมาเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นสีของมันก็จะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ  จนกระทั่งเป็นสีขาวแกมน้ำเงินในที่สุด  แต่นักดาราศาสตร์ปัจจุบันได้จำแนกสีของดาว
           ตอบ ข้อ 4.

กิจกรรม 29 พ.ย. - 3 ธ.ค. 2553





ตอบ ข้อ 3 ส่วนจุดที่อยู่ในระดับสูงกว่า ณ ตำแหน่งผิวโลก เรียกว่า "จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว" (epicenter) การสั่นสะเทือนหรือแผ่นดินไหวนี้จะถูกบันทึกด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า ไซสโมกราฟ โดยการศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวและคลื่นสั่นสะเทือนที่ถูกส่งออกมา จะเรียกว่า "วิทยาแผ่นดินไหว





ตอบข้อ 4 เพราะ  คลื่นสึนามิเกิดขึ้นจากการกระทบกระเทือนที่ทำให้น้ำปริมาณมากเกิดการเคลื่อนตัว เช่น แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม หรืออุกกาบาตพุ่งชน[ต้องการอ้างอิง]
เมื่อแผ่นดินใต้ทะเลเกิดการเปลี่ยนรูปร่างอย่างกระทันหัน จะทำให้น้ำทะเลเกิดเคลื่อนตัวเพื่อปรับระดับให้เข้าสู่จุดสมดุลและจะก่อให้เกิดคลื่นสึนามิ การเปลี่ยนรูปร่างของพื้นทะเลมักเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวเนื่องจากการขยับตัวของเปลือกโลก ซึ่งจะเกิดบริเวณที่ขอบของเปลือกโลกหลายแผ่นเชื่อมต่อกันที่เรียกว่า รอยเลื่อน (fault) เช่น บริเวณขอบของมหาสมุทรแปซิฟิก นอกจากแผ่นดินไหวแล้ว ดินถล่มใต้น้ำที่มักเกิดร่วมกับแผ่นดินไหวสามารถทำให้เกิดคลื่นสึนามิได้เช่นกัน




ตอบ ข้อ 2 เพราะ 

1. แผ่นดินสะเทือน พื้นดินสั่นไหวเป็นระลอกคลื่น การสั่นไหวทำให้ตึก สะพานและถนนพังพินาศไปชั่วพริบตา
2. แผ่นดินเลื่อน ทำให้ถนน ทางรถไฟ แนวสายไฟฟ้า ท่อแก๊ส-ท่อน้ำ-ประปา เกิดการฉีกขาด ตามแนวการเลื่อนตัว
3. ไฟไหม้ ผลพวงที่ตามมาจาก 2 ข้อแรก ซึ่งเป็นผลต่อเนื่องที่บางครั้งสร้างความเสียหายได้มากกว่า เช่น แผ่นดินไหวที่ซานฟรานซิสโก (พ.ศ. 2449) และที่โตเกียวและโยโกฮามา (พ.ศ.2466) ที่ประเมินกันว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกว่าร้อยละ 90 มาจากไฟไหม้
4. แผ่นดินถล่ม มักเกิดในบริเวณที่มีความลาดชันมาก ผลที่ตามมาก็คือ พื้นดินหรือแผ่นหินเลื่อนมาตามความลาดชันสู่พื้นราบ เมืองหลายเมือง เช่น ในอลัสก้า คาลิฟอร์เนีย จีน อิหร่าน ตุรกี พังพินาศเพราะผลจากแผ่นดินไหวนี้
5. ธรณีสูบ( Liquefaction) น้ำในดินบางครั้งแทรกอยู่ในรูพรุนของเม็ดตะกอนจนแถบไม่มีช่องอากาศอยู่เลย พอเกิดแผ่นดินไหว แรงบีดอัดทำให้ตะกอนพวกนี้ไหลพุ่งขึ้นตามมากับน้ำที่อิ่มตัวนี้ บ้างก็ถูกฉุดลงไปในพื้นดิน แผ่นดินไหวที่เมืองแองคอแรด อะลาสก้า (พ.ศ. 2507) หรือที่นิอิกาตะในญี่ปุ่นในปีเดียวกัน บ้านเรือนหลายหลังถูกธรณีสูบทั้งที่เป็นหย่อม ๆ และเป็นแนว
6. คลื่นยักษ์ หรือสึนามิ (Tsunami) การเลื่อนหรือเคลื่อนตัวของเปลือกโลกใต้มหาสมุทรทำให้คลื่นไหวสะเทือนส่งผ่านให้กับน้ำทะเล และผลน้ำทะเลเกิดเป็นระรอกคลื่นที่ผิว และเคลื่อนตัวเข้าหาฝั่งด้วยความเร็วอย่างน้อย 300 ถึง 400 กม ต่อชั่วโมง แผ่นดินไหวใกล้เกาะ คูนิแมค อะลาสก้า ปี พ.ศ. 2489 ใช้เวลาเดินทางสี่ชั่วโมงครึ่งกว่าจะถึงเกาะฮาวาย ด้วยความเร็วคลื่นประมาณ 800 กม/ชม จากจุดเกิด ตอนแรกแทบมองไม่เห็นคลื่น แต่เมื่อถึงฮาวายคลื่นสูงถึง 18 เมตร กวาดบ้านเรือน 500 หลังในชั่วพริบตา อีกกว่าพันหลังเสียหายและคร่าชีวิตมนุษย์ไป 159 คน






ตอบข้อ 3 เพราะ การศึกษาไทรโลไบต์มหายุคพาลีโอโซอิกในบริเวณเขตแดนระหว่างเวลช์-อังกฤษโดยไนล์ เอลเดรดจ์เป็นพื้นฐานนำไปสู่การทดสอบและจำลองแบบพังค์ตูเอเตดอีควิลิเบรียมซึ่งเป็นกลไกลหนึ่งของวิวัฒนาการ
จากการศึกษาไทรโลไบต์ในพื้นที่แอตแลนติกกับแปซิฟิคบริเวณมหาสมุทรทะเลโบราณอิเอเปตัสพบว่ามีความใกล้ชิดกันในทางวิวัฒนาการถือเป็นหลักฐานที่สำคัญในการสนับสนุนทฤษฎีทวีปจรและทฤษฎีเพลตเทคโทนิก
ไทรโลไบต์มีความสำคัญในการประมาณอัตราการแตกแขนงวิวัฒนาการ (rate of speciation) ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เช่นในยุคแคมเบรียน เพราะว่าไทรโลไบต์เป็นกลุ่มของเมต้าซัวส์ที่มีความหลากหลายมากที่สุดกลุ่มหนึ่งซึ่งรู้ได้จากซากดึกดำบรรพ์ทั้งหลายในช่วงต้นของยุคแคมเบรียน
ไทรโลไบต์ใช้เป็นดัชนีกำหนดตำแหน่งทางการลำดับชั้นหินของยุคแคมเบรียนได้ดี นักวิจัยทั้งหลายที่พบไทรโลไบต์ที่มีโปรโซปอนชนิดเอลิเมนทารีและมีพายกิเดียมเล็กกว่าเซฟาลอนจะทำให้ทราบได้ว่ามีอายุอยู่ในยุคแคมเบรียนตอนต้น การลำดับชั้นหินยุคแคมเบรียนทั้งหลายจะใช้ซากดึกดำบรรพ์ไทรโลไบต์เป็นดัชนี






ตอบข้อ 1 เพราะ ประเทศไทยมีการพบรอยและโครงกระดูกไดโนเสาร์ทั่วทุกภาคของประเทศ แต่ที่มากที่สุดน่าจะเป็นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีการค้นพบซากฟอสซิลไดโนเสาร์ ตั้งแต่ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ภูกุ้มข้าว จังหวัดกาฬสินธุ์ การพบรอยเท้าไดโนเสาร์ที่ภูหลวง จังหวัดเลย ที่ภูแฝก จังหวัดกาฬสินธุ์

  และล่าสุดมีข่าวการค้นพบที่จังหวัดชัยภูมิ ในพื้นที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น จากการศึกษาพบว่า เป็นโครงกระดูกไดโนเสาร์ซอโรพอด ที่มีความยาวประมาณ 15 เมตร นับเป็นการค้นพบซากไดโนเสาร์ครั้งแรกในเมืองไทย และจากการค้นพบดังกล่าวทำให้บริเวณนี้ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติภูเวียง และจัดเป็นอุทยานไดโนเสาร์แห่งแรกในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง ตั้งแต่ปี 2535



ตอบข้อ 3 เพราะ 

  ดาวเกิดขึ้นเมื่ออะตอมของเบาๆ ถูกบีบภายใต้ความดันมากพอที่จะทำให้เกิดดาวทั้งหมดที่เป็นผลพวงมาจากการสมดุลพอดีกับแรงต่างๆ ชึ่งมีดังนี้ แรงโน้มถ่วง จนทำปฏิกิริยา เริ่มขึ้นและทันที

  ความไม่สม่ำเสมอของก๊าซ ทำให้เกิดแรงโน้มถ่วงที่ดึงโมเลกลุของแก๊สเข้ากัน  แรงโน้มถ้วงหรือการก่อกวนสนามแม่แหล็ก  ทำให้เกิดเนบิวลาแตกสลาย







ตอบข้อ 4 เพราะ 



ตอบข้อ 2 เพราะ ดวงจันทร์ใช้เวลาในการหมุนรอบตัวเองที่ได้จังหวะพอดีกับวิถีการโคจรรอบโลก ซึ่งเมื่อเรามองดวงจันทร์จากพื้นโลกจะมองเห็นดวงจันทร์เพียงด้านเดียวตลอดเวลา ในประวัติศาสตร์ยุคแรกของดวงจันทร์ การหมุนของมันช้าและกลายเป็นถูกล็อกอยู่ในลักษณะนี้ เป็นผลมาจากปรากฏการณ์ความฝืด และมีความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์น้ำขึ้นน้ำลงบนโลก



ตอบข้อ 4 เพราะ ระบบสุริยะ มี ดวาพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาว อังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต

ส่วนดาวลูกไก่ไม่ได้อยุในระบะสุริยะ



ตอบข้อ 1 เพราะ ถ้ากาแล็กซีเคลื่อนที่ห่างออกไปจะปรากฏมีสีแดงขึ้น เรียกว่า กาแล็กซีมีการเขยื้อนไปทางสีแดงหรือ "เรดชิฟต์" (redshift) ถ้าเคลื่อนที่เข้าหาเรา กาแล็กซีจะปรากฏมีสีน้ำเงินขึ้น เรียกว่า เขยื้อนไปทางสีน้ำเงินหรือ "บลูชิฟต์" (blueshift) ปรากฏการณ์เปลี่ยนสีนี้ เรียกว่า ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
ฮับเบิลใช้ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์วัดความเร็วของกาแล็กซีต่างๆ และค้นพบความสัมพันธ์เหลือเชื่อที่ว่า กาแล็กซียิ่งอยู่ไกลยิ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงขึ้น นั่นคือเขาค้นพบว่า อัตราเร็วของกาแล็กซีเป็นปฏิภาคโดยตรงกับระยะห่าง ปัจจุบันเรียกว่า กฎของฮับเบิล กฎนี้แสดงว่าเอกภพทั้งหมดกำลังมีขนาดโตขึ้น



ตอบข้อ 3เพราะ ปีแสง คือ หน่วยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี จากอัตราเร็วแสงที่มีค่า 299,792.458 กิโลเมตร/วินาที ระยะทาง 1 ปีแสงจึงมีค่าประมาณ 9.4607×1012 กิโลเมตร = 63,241.077 หน่วยดาราศาสตร์ = 0.30660 พาร์เซก เนื่องจากเอกภพมีขนาดมหึมา แสงจากวัตถุท้องฟ้าที่อยู่ไกลจึงใช้เวลาหลายปีกว่าจะเดินทางมาถึงเรา นั่นหมายความว่าเราเห็นอดีตของวัตถุนั้นอยู่ตลอดเวลา



ตอบข้อ 1 เพราะ ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรดวงแรกของไทย หรือที่รู้จักกันดีในชื่อดาวเทียมธีออส  (THEOS :Thailand Earth Obser-vation Satellite)  จะขึ้นสู่วงโคจรในเดือนตุลาคม พ.ศ.2550 ที่ประเทศคาซักสถาน  อวดศักยภาพบันทึกข้อมูลภาพได้ทั่วโลก และสามารถรับข้อมูลได้อย่างทันทีในลักษณะใกล้เวลาจริง โดยขณะนี้ตัวดาวเทียมอยู่ระหว่างรอการทดสอบเชิงกลศาสตร์ ส่วนความพร้อมโครงสร้างภาคพื้นดิน (Ground Infrastructure) สทอภ.ได้กำหนดให้สถานีรับสัญญาณดาวเทียมเดิมของสทอภ.ที่เขตลาดกระบังเป็นที่ตั้งรับสัญญาณ (X-band) และผลิตข้อมูล (Image Ground Segment: IGS) และได้สร้างสถานีควบคุมดาวเทียมธีออส ซึ่งตั้งอยู่ในอ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ซึ่งจะเป็นที่ติดตั้งระบบ Control Segment: CGS และ S-band Station

ธีออสได้รับการออกแบบให้มีอายุการใช้งานอย่างน้อย 5 ปี (Design Life) เช่นเดียวกับดาวเทียมวงโคจรต่ำ (LEO : Low Earth Orbit) แต่อาจมีอายุการใช้งานได้นานกว่าที่ออกแบบไว้ สามารถสำรวจได้ครอบคลุมทั่วโลก บันทึกข้อมูลได้ทั้งในช่วงที่คลื่นตามองเห็น (Visible) สามช่วงคลื่น คือ ช่วงคลื่นแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน และช่วงคลื่น อินฟราเรดใกล้ (Near Infrared) การโคจรของดาวเทียม ขณะอยู่ในช่วงที่มีแสงสว่างจะมีอุณหภูมิสูงประมาณ 200 cในขณะที่โคจรกลับมาทางด้านมืดจะมีอุณหภูมิต่ำประมาณ -200 c  ส่วนประกอบของดาวเทียมจึงต้องมีสภาพทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ดังนั้น จึงใช้ส่วนประกอบที่ผลิตจาก Silicon Carbide ซึ่งมี คุณสมบัติเหมาะสมต่อการทนสภาพอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง



ตอบข้อ 2 เพราะ ดาวเที่ยมใช้สำรวจเกี่ยวกับพิกัดตำแหน่งต่างๆ และภัยธรรมชาติต่างๆ


กิจกรรม 15 พฤศจิกายน 2553


             สืบค้นข้อมูล  ดาวศุกร์ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ชื่อละติ
                                   ของดาวศุกร์ (Venus)
             ที่มา  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%8C
              ตอบข้อ 2.


            สืบค้นข้อมูล    องค์ประกอบหลักของดาวพฤหัสบดีคือ ก๊าซไนโตรเจนและก๊าซฮีเลียม ซึ่งเป็นองค์ประกอบประมาณ 75% และ 25%
            ที่มา     http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/prae/narerat/the_solar_system/jupiter.htm
           ตอบข้อ   2.



          สืบค้นข้อมูล   อาทิตย์จะจบ ชีวิตลงด้วยการขยายตัวแต่จะไม่ระเบิด เพราะแรงโน้มถ่วงมีมากกว่าแรงดัน ในที่สุด ดวงอาทิตย์จะยุบตัวลงอย่างสงบกลายเป็นดาวขนาดเล็ก เรียกว่า ดาวนิวตรอน
         ที่มา  http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/prae/narerat/the_solar_system/sun.htm
         ตอบข้อ  4.


        สืบค้นข้อมูล   ความสว่างของดาวฤกษ์บอกได้จากตัวเลขที่ไม่มีหน่วยที่เรียกว่า อันดับความสว่าง หรือ แมกนิจูด ( Magnitude ) ของดาวที่มีอันดับความสว่างต่างกัน 1 จะสว่าสงมากกว่ากัน 2 เท่าครึ่ง ดดยอันดับความสว่างทีีเป็นบวกหรือตัวเลขมาก ๆ จะมีความสว่างน้อย ๆ เช่นดาวที่มีอันดับความสว่าง - 1 จะมีความสว่างมากกว่าดาวฤกษ์ที่มีความสว่าง 1
        ที่มา   http://www.sopon.ac.th/science/unchalee-v/page%2003%20sec%2001.htm
        ตอบข้อ  4.



       สืบค้นข้อมูล   ปีแสง คือ หน่วยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี
       ที่มา   http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87
       ตอบข้อ   1.


               สืบค้นข้อมูล           จุดจบของดาวฤกษ์ที่มวลมาก คือการระเบิดอย่างรุนแรง ที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา (supernova) แรงโน้มถ่วง จะทำให้ดาวยุบตัวลงกลายเป็นดาวนิวตรอนหรือหลุมดำ ในขณะเดียวกันก็มีแรงสะท้อนที่ทำให้ส่วนภายนอกของดาวระเบิดเกิดธาตุหนักต่างๆ เช่น ยูเรนียม ทองคำ ฯลฯ ซึ่งถูกสาด กระจายออกสู่อวกาศกลายเป็นส่วนประกอบของเนบิวลารุ่นใหม่ และเป็นต้นกำเนิดของดาวฤกษ์รุ่นต่อไป เช่นระบบสุริยะก็เกิดจากเนบิวลารุ่นหลัง ดวงอาทิตย์และบริวารจึงมีธาตุต่างๆทุกชนิด เป็นองค์ประกอบ
       ที่มา    http://www.chaiyatos.com/sky_lesson2.htm
      ตอบข้อ   2.

      สืบค้นข้อมูล      

ดาวฤกษ์ที่มีมากมายบนท้องฟ้า  จะมีสีและอุณหภูมิแตกต่างกันสีของดาวฤกษ์  สามารถบอกถึงอุณหภูมิด้วย  เช่น  ดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิต่ำจะมีสีข้อนข้างแดง  และดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิสูงจะมีสีขาวหรือสีขาวอมน้ำเงิน       ที่มา  http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/06/star/fixstar2.html
ตอบข้อ 2.
     สืบค้นข้อมูล   ดาวที่มีอันดับความสว่างต่างกัน 1 จะสว่าสงมากกว่ากัน 2 เท่าครึ่ง ดดยอันดับความสว่างทีีเป็นบวกหรือตัวเลขมาก ๆ จะมีความสว่างน้อย ๆ เช่นดาวที่มีอันดับความสว่าง - 1 จะมีความสว่างมากกว่าดาวฤกษ์ที่มีความสว่าง 1
     ที่มา  http://www.sopon.ac.th/science/unchalee-v/page%2003%20sec%2001.htm
     ตอบข้อ 2.

กิจกรรม 24 - 28 มกราคม 2554


ตอบข้อ 1 เพราะอัตราความเร็ว8เมตร ต่อ 4 วนาที รดจะวิ่งสม่ำเสมอกัน ในทุกๆ2 เมตร
ตอบ ข้อ3 เพราะ เดินไปทางทิศเหมือน 300 เมตร ทิศตะวันออก อีก 400 เมตร
รวมทั้งสองทิศ เป็น700  หารด้วย การเดินทางทั้งหมด 500 วินาที
จะได้คำตอบ

ตอบ ข้อ 4 เพราะ
 ความเร็วที่พุ้งออกมาในระดับเดียวกันปริมานของวัตถุก้อจะคงตัว ในระดับเดียวกัน




ตอบข้อ2 เพราะ
 การเหวี่ยงจุกยางเป็นวงกลม ทั้งหมด 20 รอบใช้เวลา5 วินาที เฉลี่ยต่อ 4 รอบ ต่อ 1 วินาที
ตอบ ข้อ2 เพราะ
 เหวี่ยงจุกยางในชุดการเคลื่อนที่แบบวงกลม  ให้เคลื่อนที่เป็นวงเหนือศีรษะ  ดังภาพ  สังเกตเส้นทางเดินของจุกยาง  อัตราเร็วในการเคลื่อนที่  ความยาวของเชือก  และแรงดึงเชือก
 ลองเหวี่ยงจุกยางด้วยเงื่อนไขที่ต่างไปจากเดิม  เช่น  เหวี่ยงด้วยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น  แต่ความยาวของเชือกเท่าเดิม  หรือเหวี่ยงด้วยอัตราเร็วคงตัว  แต่เปลี่ยนความยาวของเชือก  หรือคิดเปลี่ยนเงื่อนไขอื่นๆตามความสนใจ  สังเกตและอธิบายเส้นทางการเคลื่อนที่ของจุกยากในแต่ละกรณี
3.  อภิปรายร่วมกัน  แล้วสรุปและนำเสนอผลการศึกษา
            -  จุกยางจะคงสภาพการเคลื่อนที่แบบวงกลมอยู่ได้  ภายใต้เงื่อนไขอะไรบ้าง
            -  มีแรงดึงที่เชือกกระทำต่อจุกยางหรือไม่
            -  วิเคราะห์ความสัมพันธืระหว่างอัตราเร้วในการเคลื่อนที่  รัศมีการเคลื่อนที่ของจุกยางและแรงดึงเชือก
            เมื่อวัตถุมวล  m  เคลื่อนที่เป็นวงกลม  จะมีแรงกระทำต่อวัตถุ  ซึ่งมีทิศเข้าหาศูนย์กลางของการเคลื่อนที่นั้นเสมอเรียกว่า  แรงสู่ศูนย์กลาง (centripetal  force,  F_c)   
       
            ขณะที่จุกยางเคลื่อนที่แบบวงกลมไปรอบมือ  เราจะรู้สึกว่าเชือกออกแรงดึงมือ  โดยทิศของแรงพุ่งออกจากมือและในขณะเดียวกันเชือกก็จะดึงจุกยางโดยทิศของแรงพุ่งเข้าหามือตลอดเวลาด้วย



ตอบข้อ4 เพราะ
เราอาจจะสร้างผิวโค้งจากเส้นตรงโดยใช้หลักการที่คล้ายกับการเขียนเส้นโค้งจากเส้นตรงในระนาบได้ดังนี้
          ใช้ไม้อัดหรือแผ่นพลาสติกสามแผ่นรูปจัตุรัสขนาดกว้างด้านละ 6 นิ้ว เจาะรูไม้อัดนี้เป็นแถวๆ ให้แต่ละแถวห่างกัน 1/4 นิ้ว และในแต่ละแถวให้รูปห่างกัน 1/4 นิ้ว เช่นเดียวกัน ประกอบไม้อัดหรือแผ่นพลาสติกทั้งสามแผ่นนี้ให้ตั้งฉากกันและกัน ใช้ด้ายไนลอนสีสอดขึ้นจากรูแถวริมนอกที่สุดของแผ่นไม้อัด แผ่นล่าง (รูหมายเลข 9) แล้วนำไปสอดที่รูปล่างสุดของแถว ก ในแผ่นตั้ง ดึงด้ายให้ตึงแล้วสอดเส้นด้ายออกทางรูที่สองนับจากข้างล่างในแถว ข ของแผ่นตั้งดึงด้ายให้ตึงแล้วกลับมาสอดลงในแถวนอกที่สุดในรูปถัดไปทางซ้ายมือของรูแรก (รูหมายเลข 8) และนำด้ายสอดขึ้นจากรูหมายเลข  7 แล้วกลับไปสอดเข้ารูที่ 3 นับจากข้างล่างของแถว ค ของแผ่นตั้ง ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนครบทุกรูของแถว นอกของแผ่นล่าง และทุกรูในแนวเส้นทแยงมุมของแผ่นตั้ง ชุดของเส้นตรงเหล่านี้จะเรียงกันไปจนดูคล้ายผิวโค้ง ถ้าเจาะรูไม้อัดหรือแผ่นพลาสติกให้ถี่มากขึ้นเท่าใด ลักษณะของเส้นด้ายก็จะเป็นผิวโค้งมากขึ้น
          โดยใช้หลักการเดียวกันนี้ เราอาจนำไปสร้างแบบแสดงลักษณะของผิวโค้งที่เกิดจากเส้นตรงหลายชุด ด้วยการสอดเส้นด้ายให้ออกจากรูปในแถวหนึ่งของไม้แบบแผ่นล่าง แล้วสอดเส้นด้ายเข้าในแถวทแยงมุมของไม้แบบแผ่นตั้ง ที่อยู่ทางซ้ายหรือทางขวาก็ได้ ผู้อ่านจะสังเกตวิธีการได้จากรูปต่อไปนี้ และอาจจะนำไปประดิษฐ์แบบอื่นๆ ต่อไปอีกได้
          เมื่อสังเกตธรรมชาติรอบๆ ตัวเรา จะแลเห็นว่าสวนใหญ่มีลักษณะเป็นผิวโค้งและมีขอบเป็นเส้นโค้ง เราจะแลเห็นความคล้ายคลึงกันระหว่างผิวโค้ง และเส้นโค้งทางคณิตศาสตร์กับทางธรรมชาติ ธรรมชาติสร้างสิ่งต่างๆ อย่างมีระเบียบแลดูสวยงามคล้ายกับมีกฎเกณฑ์กำหนดไว้ การสร้างเส้นโค้งและผิวโค้งทางคณิตศาสตร์ก็เป็นไปอย่างมีกฎเกณฑ์และวิธีการ ด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์ เราสามารถหาความยาวของเส้นโค้ง และหาเนื้อที่ของผิวโค้งได้ ตลอดจนสามารถหาปริมาตรรูปทรงที่ผิวโค้งนั้นห่อหุ้มอยู่ มนุษย์สามารถนำผลจากการศึกษาในเรื่องเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ทั้งในทางวิทยาศาสตร์  ทางศิลปะ ทางการออกแบบ ทำให้ผลิตผลทางหัตถกรรมและศิลปกรรมดูงดงามยิ่งขึ้น
ตอบข้อ 3 เพราะ
                      

ตอบข้อ4 เพราะ


จะกลับกันโดยปติยาย

ตอบข้อ 4 เพราะ



ตอบข้อ 3 เพราะ
รังสีแกมมา (อังกฤษ: gamma ray) คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่มีช่วงความยาวคลื่นสั้นกว่ารังสีเอกซ์ (X-ray) ที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 10-13 ถึง 10-17 หรือก็คือคลื่นที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 10-13 นั่นเอง การที่ความยาวคลื่นสั้นนั้น ย่อมหมายถึงความถี่ที่สูง และพลังงานที่สูงตามไปด้วย ดังนั้นรังสีแกมมาถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงที่สุดในบรรดาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่เหลือทั้งหมด




โพรเจกไทล์ (Projectile) หมายถึง วัตถุที่ขว้างหรือยิงออกไป ทั้งนี้ในบริเวณใกล้ผิวโลกตามปกติการเคลื่นที่ของวัตถุดังกล่าวจะสังเกตได้ว่ามีวิถีโค้ง การเคลื่อนที่ตามรูปแบบที่วัตถุดังกล่าวเคลื่อนที่ที่ไป โดยเฉพาะเมื่อ ไม่มีแรงต้านทานของอากาศหรือแรงต้านทานมีผลน้อยจนไม่ต้องนำมาคิด จะเรียกว่า การเคลื่นที่แบบโพรเจกไทล์ ในกรณีที่แรงต้านทานของอากาศมีผลต่อการเคลื่อนไหวที่เนื่องจากวัตถุเบา หรือเนื่องจากการเคลื่อนที่เร็วและมีการหมุน วิถีการเคลบื่อนที่จะแตกต่างออกไปจากการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์และไม่นับเป็นการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เช่น การเคลื่นที่ของลูกแบดมินตัน ลูกกอล์ฟ


การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์เป้นการเคลื่อนไหวแบบ 2 มิติ คือ เคลื่อนที่ในระดับและแนวดิ่งพร้อมกัน ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่ที่มีความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ในขณะที่แนวราบไม่มีความเร่งเพราะไม่มีแรงกระทำในแนวระดับ


  1. ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่
  2. อัตราเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดในสุญญากาศเท่ากับ 299,792,458 m/s ซึ่งเท่ากับ อัตราเร็วของแสง
  3. เป็นคลื่นตามขวาง
  4. ถ่ายเทพลังงานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง
  5. ถูกปล่อยออกมาและถูกดูดกลืนได้โดยสสาร
  6. ไม่มีประจุไฟฟ้า
  7. คลื่นสามารถแทรกสอด สะท้อน หักเห และเลี้ยวเบนได้